เวลากับประวัติศาสตร์
ความหมาย ความสำคัญของวิชาประวัติศาตร์
1. ประวัติศาสตร์เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับอดีต โดยศึกษาถึงพฤติกรรมของมนุษย์ อันเกียวเนื่องกับเวลา และบริบทซึ่งมีผลต่อมนุษย์ชาติเมื่อเหตุการณ์นั้นเปลี่ยนแปลงไป
2. ประวัติศาสตร์ซ้ำรอยนั้นไม่มีจริง เพราะถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจะคล้ายกับอดีตแต่ บริบท บุคคลก็ไม่เหมือนเดิม
3. บิดาของประวัติศาสตร์โลกคือ เฮโรโดตัส ชาวกรีก ผู้เขียน Historia นำเสนอเรื่องราวเกี่ยวกับสงครามกรีกและเปอร์เซีย โดยใช้หลักฐานและมีการวิเคราะห์หลักฐาน จึงได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งประวัติศาสตร์
รูป.1 เฮโรโดตัส
4.บิดาแห่งประวัติศาสตร์สมัยใหม่ คือ ลีโอโปลด์ ฟอน รังเก เขาเขียนหนังสือ History of the romance and Germanic people,1494-1535 กล่าวใจความสำคัญว่า อารยธรรมยุโรป คือการผสมผสานกันระหว่างโรมันและเยอรมัน แต่ที่สำคัญที่สุดในบทผนวกของหนังสือ คือ A critique of Modern Historical Writers ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของวิธีการหรือวิพากษ์วิธีทางประวัติศาสตร์ ซึ่งมีการประยุกต์มาจากวิธีการทางวิทยาศาสตร์ อันเป็นผลมาจากการปฎิวัติวิทยาศาสตร์แล้วทำให้เกิดยุคที่ผู้คนนิยมในเหตุแลพผล หรือเรียกว่า ภูมิธรรม
5. บิดาแห่งประวัติศาสตร์ไทย คือ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
รูป.2 กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
เวลากับประวัติศาสตร์
การเกิดขึ้นของศักราช มี 2 ลักษณะ คือ รัชศักราชและศาสนศักราช
1. รัชศักราช
1. รัชศักราช
- ใช้จุดเริ่มต้นของเวลาตามการขึ้นครองราชย์ของกษรตนิย์
- มีการใช้มาก่อนเกิดศาสนศักราช เช่น ศักราชในอินเดียโบราณ อียิปโบราณ จีนโบราณ
- จะมีความเกี่ยวข้องกับความยิ่งใหญ่ของกษัตริย์ มีการตัดศักราช คือ ยกเลิกศักราชเดิมแล้วประกาศเริ่มต้นศักราชใหม่ในรัชกาลของพระองค์ เช่น พระเจ้าอนุรุทธมหาราช ตั้งจุลศักราชท่ามกลางขุมนุมเจ้าประเทศราช
- ตัวอย่างรัชศักราช ได้แก่ จุลศักราช มหาศักราช รัตนโกสินทร์ศก
- เกดิดขึ้นเมื่อมีผู้ศรัทธาในลัทธิที่ต้องการรำลึกถึงศาสดาของตนและเหตุการณ์สำคัญของศาสนา เช่น การกำเนิดหรือการสิ้นพระขนม์ของศาสดา หรือการประกาศศาสนา
- มีความยั่งยืนมากกว่าศักราชที่ก่อกำเนิดจากฝ่ายอาณาจักรเนื่องจากศาสนจักรจะเป็นที่พึ่งพาทางใจของคนทั้วไปและมีผู้สืบทอดศาสนา รวมทั้งมีความเป็นสากลมากกว่ารัชศักราชด้วย
- ตัวอย่างศาสนศักราช ได้แก่
- ศาสนาคริสต์ > ปีที่พระเยชูประสูติกาล
- ศาสนาพุทธ > ปี่ที่พระพุทธเจ้าปรินิพาน
- ศาสนาอิสลาม > ปี่ที่นบีมูฮัมหมัด ทำการฮิจเราะห์ หรือ อพยพ
- ศาสนาเชน > ปีที่สิ้นอายุของศาสดาชินะ
การนับศักราชประจุบันประกอบด้วย
1. คริสต์ศักราช
- เริ่มนับตั้งแต่ปีที่พระเยชูประสูติ มีตัวย่อว่า A.D. (Anno Domini มาจากภาษลาตินแปลว่า ปีแห่งผู้เป็นเจ้า) หรือ ค.ศ. และก่อนพระเยชูประสูติจะใช้ว่า ก่อนคริสต์ศักราช หรือ B.C. ( Before christ ) เริ่มนับ ค.ศ. 1 ใน พ.ศ. 5432. ฮิจเราะห์ศักราช
- เป็นศักราชทางศาสนาอิสลาม
- ยึดปีที่นบีมูฮัมหมัด ทำการฮิจเราะห์ คืออพยพจามกเมืองเมกกะบ้านเกิดไปเมืองเมดินา เพื่อเผยแพร่ศาสนาอิสลาม
- ฮ.ศ. 1 ตรงกับ พ.ศ. 1165 แต่มีการคลาดเคลื่อนเร็วขึ้น คือเมื่อครบ 32 1/2 ปี จะเพิ่มขึ้น 1 ปีไปเรื่อยๆเนื่องจากยึดเวลาทางจันทรคติอย่างเคร่งครัด โดยไม่มีการเพิ่มเดือนธิกมาสตามแบบไทย
- ปัจจุบันเมื่อเทียบกับ พ.ศ. ต้องเอา 1122 ไปลบหรือบวก
3. พุทธศักราช
- ฮ.ศ. 1 ตรงกับ พ.ศ. 1165 แต่มีการคลาดเคลื่อนเร็วขึ้น คือเมื่อครบ 32 1/2 ปี จะเพิ่มขึ้น 1 ปีไปเรื่อยๆเนื่องจากยึดเวลาทางจันทรคติอย่างเคร่งครัด โดยไม่มีการเพิ่มเดือนธิกมาสตามแบบไทย
- ปัจจุบันเมื่อเทียบกับ พ.ศ. ต้องเอา 1122 ไปลบหรือบวก
3. พุทธศักราช
- เป็นการนับศักราชในทางพุทธศาสนา นิยมใช้ในประเทศไทยปัจจุบัน มีลักษณะการนับที่ไม่เหมือนกัน
(1). แบบ ไทย ลาว เขมร จะเริ่มนับ พ.ศ. 1 เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จปรินิพานไปแล้ว 1 ปี
(2). แบบลังกา พม่า อินเดีย จะเริ่มนับ พ.ศ. 1 ในปีที่พระพุทธเจ้าปรินิพาน
- ไทยประกาศใช้พระพุทธศักราชอย่างเป็นทางการในวันที่ 21 กุมถาพันธ์ พ.ศ. 2455 สมัย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
- จอมพล ป. พิบูลสงครามได้เปลี่ยนวันขึ้นปีไหม่ไทยจากวันที่ 1 เมษายน เป็นวันที่ 1 มกราคมใน พ.ศ. 2483 ทำให้เดือน มกราคม ถึง มีนาคม พ.ศ. 2483 ไม่มี
4. มหาศักราช
- เป็นศักราชที่ตั้งขึ้นโดยพระเจ้ากนิษกะ กษัตริย์ราชวงศ์กุษาณะแห่งอินเดีย กลุ่มประเทศในเอเชียตัวนตกเฉียงใต้นับมาจากอินเดีย โดยพวกพราหมณ์และพ่อค้า พร้อมกับตำราโหราศาสตร์
- มีหลักฐานว่าไทยใช้มหาศักราชมาตั้งแต่โบราณก่อนสมัยสุโขทัย จนถึงสมัยอยุธยาตอนกลางพบมากในจารึกพงศาวดาร
5. จุลศักราช
- ตั้งขึ้นโดย โปปะสอระหัน กษัตริย์พม่า เริ่มใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 1182 ใชำคำนวนทางโหราศาสตร์ บอกเวลาในจารึกพงศาวดาร
6. รัตนโกสินทร์ศก
- เริ่มนับปีที่รัชกาลที่ 1 สถาปนากรุงเทพมหานคร ขึ้นเป็นราชธานีไหม่ของอาณาจักรไทยเป็น ร.ศ. 1
- เริ่มใช้ในสมัยรัชกาลที่ 5 ยกเลิกใช้ในสมัย รัชกาลที่ 6 และเป็นระบบศักราชเดียวที่คิดโดยคนไทย
(1). แบบ ไทย ลาว เขมร จะเริ่มนับ พ.ศ. 1 เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จปรินิพานไปแล้ว 1 ปี
(2). แบบลังกา พม่า อินเดีย จะเริ่มนับ พ.ศ. 1 ในปีที่พระพุทธเจ้าปรินิพาน
- ไทยประกาศใช้พระพุทธศักราชอย่างเป็นทางการในวันที่ 21 กุมถาพันธ์ พ.ศ. 2455 สมัย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
- จอมพล ป. พิบูลสงครามได้เปลี่ยนวันขึ้นปีไหม่ไทยจากวันที่ 1 เมษายน เป็นวันที่ 1 มกราคมใน พ.ศ. 2483 ทำให้เดือน มกราคม ถึง มีนาคม พ.ศ. 2483 ไม่มี
4. มหาศักราช
- เป็นศักราชที่ตั้งขึ้นโดยพระเจ้ากนิษกะ กษัตริย์ราชวงศ์กุษาณะแห่งอินเดีย กลุ่มประเทศในเอเชียตัวนตกเฉียงใต้นับมาจากอินเดีย โดยพวกพราหมณ์และพ่อค้า พร้อมกับตำราโหราศาสตร์
- มีหลักฐานว่าไทยใช้มหาศักราชมาตั้งแต่โบราณก่อนสมัยสุโขทัย จนถึงสมัยอยุธยาตอนกลางพบมากในจารึกพงศาวดาร
5. จุลศักราช
- ตั้งขึ้นโดย โปปะสอระหัน กษัตริย์พม่า เริ่มใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 1182 ใชำคำนวนทางโหราศาสตร์ บอกเวลาในจารึกพงศาวดาร
6. รัตนโกสินทร์ศก
- เริ่มนับปีที่รัชกาลที่ 1 สถาปนากรุงเทพมหานคร ขึ้นเป็นราชธานีไหม่ของอาณาจักรไทยเป็น ร.ศ. 1
- เริ่มใช้ในสมัยรัชกาลที่ 5 ยกเลิกใช้ในสมัย รัชกาลที่ 6 และเป็นระบบศักราชเดียวที่คิดโดยคนไทย
ทศวรรษ
เป็นคำที่แปลมาจากภาษาอังกฤษ คือ Decade หมายถึงระยะเวลา 10 ปี โดยปกติมักจะใช้สัญลักษณ์ตัวอักษร s หลังปีศักราช เช่น 1980s อ่านว่า '' ทศวรรษ 1980 '' และนับตั้งแต่ปี 1980-1989 ซึ่งทั้งนี้ถือตามคำนิยามและคำอธิบายในพจนานุกรมฉบับมาตรฐานของ Random House Webster's Unabridged Dictionary ซึ่งหมายความว่าให้นับปีที่ขึ้นต้นด้วยเลข 0 เป็นปีแรกของทศวรรษ และนับไปสิ้นสุดที่ 9 ซึ่งใช้เกณฑ์ในการนับต่างจากศตวรรษ และ สหัสวรรษ
ศตวรรษ ( century )
คือ รอบ 100 ปี เช่น คริสต์ศตวรรษที่ 19 คือ ค.ศ. 1801-1900
สหัสวรรษ ( Millennium )
คือ รอบ 1000 ปี เช่น สหัสวรรษที่ 3 คือ ค.ศ. 2001-3000
ตารางเปรียบเทียบศักราช
ม.ศ. +621 = พ.ศ. ม.ศ. +78 = ค.ศ.
จ.ศ. +1181 = พ.ศ. จ.ศ. +638 = ค.ศ.
ร.ศ. +2324 = พ.ศ. ร.ศ. +1781 = ค.ศ.
ค.ศ. +543 = พ.ศ. ค.ศ. -543 = ค.ศ.
ฮ.ศ. +1122 = พ.ศ. ฮ.ศ. +621 = ค.ศ.